เจลสมานแผลจากสารสกัดเห็ดหูหนู |
นักวิจัย |
|
ศ.ดร.พรงาม เดชเกรียงไกรกุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม |
|
|
สถานภาพสิทธิบัตร |
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2003000344 ยื่นคำขอวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 |
|
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา |
สารสกัดจากเห็ดหูหนูทีมีฤทธิ์ เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ลดการอักเสบ (Anti-inflammation) มีแนวโน้มที่จะสามารถนํามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สมานแผล เช่น รอยแผลเป็นหรือรอยแผลหลังการผ่าตัดได้ เพื่อเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพปลอดภัยไร้สารเคมี ไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้
|
|
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี |
1) ได้กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดเห็ดหูหนูโดยวิธีการสกัดสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในระดับอุตสาหกรรมได้
2) ได้สารสกัดเห็ดหูหนูที่ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ผิวหนังมนุษย์เพาะเลี้ยงทั้ง 2 ชนิด fibroblast และ keratinocyte (HaCat) นอกจากนี้ยังพบว่าสารสกัดเห็ดหูหนูที่มีความสามารถกระตุ้นให้เกิดการแบ่งตัวของเซลล์ผิวหนังมนุษย์เพาะเลี้ยงชนิด fibroblast ได้
3) สารสกัดเห็ดหูหนูสามารถกระตุ้นให้เกิดการสมานแผลของเซลล์ผิวหนังเพาะเลี้ยงชนิด fibroblast และ HaCat ได้อย่างชัดเจน
4) สารสกัดโพลีแซคคาไรด์จากเห็ดหูหนูสามารถระตุ้นการสร้างคอลลาเจนจากเซลล์ผิวหนังชั้นในชนิด fibroblast ได้ |
|
ความร่วมมือที่เสาะหา |
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ |
|
สถานภาพของผลงานวิจัย |
ได้ต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการ |
|
|
เงื่อนไข |
เทคโนโลยีต่อรองราคา |
|
สนใจสอบถามข้อมูล |
นางสาวบุษกร ก้อนทอง |
โทรศัพท์ |
02-5797435 ต่อ 3315 |
โทรศัพท์มือถือ |
086-0326506 |
Email |
bussagorn@arda.or.th |
สำนักส่งเสริมการใช้ประโยชน์ สวก. | |
|
คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "เจลสมานแผลจากสารสกัดเห็ดหูหนู"
|
|