การปรับปรุงประสิทธิภาพการคืนตัวของผลิตภัณฑ์เส้นบุกแห้งจากภูมิปัญญาชาวกะเหรี่ยงโผล่ว |
นักวิจัย |
|
อาจารย์ปิ่นธิดา ณ ไธสง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี |
|
|
สถานภาพสิทธิบัตร |
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2203000450 ยื่นคำขอวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 |
|
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา |
การปรับปรุงประสิทธิภาพการคืนตัวของผลิตภัณฑ์เส้นบุกแห้งจากภูมิปัญญาชาวกะเหรี่ยงโผล่ว เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์เส้นบุกแห้งจากภูมิปัญญาชาวกะเหรี่ยงโผล่ว จากการสํารวจความต้องการในการซือของผู้บริโภคทังที่เป็นผู้บริโภคประจําและรายใหม่ให้ความสนใจต่อผลิตภัณฑ์ใหม่คือ “เส้นบุกแห้ง” โดยเฉพาะผู้บริโภคกลุ่มรักสุขภาพ และกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่มคีโต มีกลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์เส้นบุกแห้งสามารถยืดอายุการเก็บรักษาส่งผลต่อการลดต้นทุนด้านกําลังการผลิตของผู้ประกอบการ นอกจากนี้ยังทําให้กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกบุกในพื้นที่อําเภอทองผาภูมิ
จังหวัดกาญจนบุรี มีรายได้เพิ�
มขึนจากการจําหน่ายหัวบุกสดอีกด้วย |
|
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี |
การพัฒนาเทคโนโลยีและศึกษาสภาวะการอบแห้งที่เหมาะสมต่อการคืนรูปผลิตภัณฑ์เส้นบุกแห้ง การบรรจุในบรรจุภัณฑ์ (packaging) ซึ่งเมื่อสามารถพัฒนาการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์แบบแห้งจะสามารถยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ลดต้นทุนการขนส่ง และทําให้สามารถกระจายสินค้าได้กว้างขึ้น ส่งผลต่อการขยายฐานผู้บริโภคให้มากขึ้น |
|
ความร่วมมือที่เสาะหา |
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ |
|
สถานภาพของผลงานวิจัย |
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง |
|
|
เงื่อนไข |
เทคโนโลยีต่อรองราคา |
|
สนใจสอบถามข้อมูล |
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) |
โทรศัพท์ |
025797435 ต่อ 3301 |
โทรศัพท์มือถือ |
0869831247 |
Email |
kunakorn@arda.or.th |
สำนักส่งเสริมการใช้ประโยชน์ | |
|
คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "การปรับปรุงประสิทธิภาพการคืนตัวของผลิตภัณฑ์เส้นบุกแห้งจากภูมิปัญญาชาวกะเหรี่ยงโผล่ว"
|
|