วิธีการสกัดไคตินและไคโตซานจากดักแด้ไหมและจิ้งหรีด |
นักวิจัย |
|
น.ส.น ้าฝน ไทยวงษ์
น.ส.นรินทร์ทิพย์ แก้วรังสี
น.ส.สุวิพร รื่นโพธิ์กลาง
น.ส.มัณฑิตา คงสุข
นายนราวิชญ์ เพ็ชรสุข คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา |
|
|
สถานภาพสิทธิบัตร |
คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2103001438 ยื่นคำขอวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 |
|
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา |
ไคตินเป็นสารพอลิเมอร์ธรรมชาติที่อยู่ในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตประเภทพอลิแซ็กคาไรด์ที่มีสายยาว ไคตินมีโครงสร้างคล้ายกับเซลลูโลส ซึ่งเป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ของสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ไคตินจึงเป็นสารที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะด้านสิ่งแวดล้อมในรูปของสารที่ไม่ย่อยสลาย เป็นข้อดีในการจะน้ามาใช้ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม การนำไคตินมาใช้ประโยชน์นั้นทำได้ยากเนื่องจากไคตินไม่สามารถละลายในสารละลายทั่วไปได้ จึงได้นำไคตินมากำจัดหมู่อะซิติสออกจากโมเลกุลได้อนุพันธ์ที่เรียกว่าไคโตซาน ทั้งนี การสกัดไคตินและไคโตซานโดยวิธีทางเคมี แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ กระบวนการกำจัดโปรตีน กระบวนการกำจัดเกลือแร่ และกระบวนการกำจัดหรือลดหมู่อะซีติล ทั่งนี ไคตินและไคโตซานมีการนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ยกตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมอาหารได้น้าไตโตซานมาใช้ในการเคลือบผิวผลไม้เพื่อยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยว เนื่องจากไคตินเป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ของสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง จึงมีความเป็นไปได้ในการสกัดไคตินและไคโตซานจากดักแด้ไหม
และจิ้งหรีด |
|
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี |
ทั้งนี้ ดักแด้ไหมและจิ้งหรีดเป็นแมลงบริโภคที่ได้รับความนิยมเพาะเลี้ยงในประเทศไทย กอร์ปกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติสนับสนุนให้มีการบริโภคแมลง ดังนั้น ไคตินและไคโตซานที่ใช้จิ้งหรีด (ทั้งตัว) และดักแด้ไหม (ทั้งตัว) เป็นวัตถุดิบในการผลิต |
|
ความร่วมมือที่เสาะหา |
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ |
|
สถานภาพของผลงานวิจัย |
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง |
|
|
เงื่อนไข |
เทคโนโลยีราคาเดียว |
|
สนใจสอบถามข้อมูล |
ผศ. ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง |
โทรศัพท์ |
044-233000 ต่อ 5100-5101 |
โทรศัพท์มือถือ |
081-5476552 |
Email |
skycrow_ann@hotmail.com, unisearch.rmuti@gmail.com |
สถาบันบริการวิชาการแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน | |
|
คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "วิธีการสกัดไคตินและไคโตซานจากดักแด้ไหมและจิ้งหรีด"
|
|