แหล่งกำเนิดลำไอออนไร้ขั้วกริดสำหรับการปรับแต่งสมบัติพื้นผิวของวัสดุ |
นักวิจัย |
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิษณุ พูลเจริญศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
|
|
สถานภาพสิทธิบัตร |
องค์ความรู้ |
|
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา |
การปรับปรุงสมบัติพื้นผิวของวัสดุ ชิ้นงาน หรือผลิตภัณฑ์ ให้ดีกว่าเดิม ถือเป็นเป้าหมายสำคัญของงานด้านวิศวกรรมพื้นผิว (surface engineering) อย่างเช่น การเพิ่มความลื่นให้กับชิ้นส่วนยานยนต์ที่อยู่ภายใต้การเสียดสีรุนแรง การทนความกัดกร่อนจากสารเคมี ไอทะเล หรือน้ำทะเล หรือเพิ่มความแข็งให้กับผิวผลิตภัณฑ์ซึ่งช่วยเพิ่มอายุการใช้งานเป็นต้น การปรับแต่งสมบัติพื้นผิววัสดุ เป็นขั้นตอนหนึ่งของเป็นกระบวนการผลิต ช่วยเพิ่มมูลค่าและฟังก์ชันของผลิตภัณฑ์ที่กระจายตัวอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรมพานิชย์นาวี อุตสาหกรรมบันทึกข้อมูล อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสหกรรมทัศนูปกรณ์ เป็นต้น การปรับปรุงผิววัสดุทำได้หลายวิธีเช่น การให้ความร้อนหรือการอบชุบ (heat treatment) การพ่นเคลือบด้วยความร้อนหรือพลาสมา (thermal and plasma spraying) และการเคลือบผิว (surface coating) ภายใต้กระบวนการเคลือบผิว การยึดเกาะระหว่างชั้นฟิล์มและชิ้นงานถือเป็นตัวแปรสำคัญที่บ่งชี้ถึงคุณภาพการเคลือบฟิล์ม ปัจจัยที่ทำให้ชั้นฟิล์มยึดเกาะกับผิวชิ้นงาน |
|
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี |
o ไม่ซับซ้อน เมื่อเทียบกับระบบสร้างลำไอออนแบบมีขั้วกริด
o ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มระยะเวลาต่อรอบการบำรุงรักษา
o มีค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตต่ำ
|
|
ความร่วมมือที่เสาะหา |
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ |
|
สถานภาพของผลงานวิจัย |
ได้ต้นแบบระดับ pilot scale |
|
|
เงื่อนไข |
เทคโนโลยีต่อรองราคา |
|
สนใจสอบถามข้อมูล |
นางสาววันวิสาข์ บุญกล้า, นางสาวอทิตยา โพนทอง |
โทรศัพท์มือถือ |
096-3266697, 088-5624463 |
Email |
Ying.ipmsu@gmail.com, atitaya.p@msu.ac.th |
หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | |
|
คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "แหล่งกำเนิดลำไอออนไร้ขั้วกริดสำหรับการปรับแต่งสมบัติพื้นผิวของวัสดุ"
|
|