เครื่องกำเนิดความสั่นสะเทือน เพื่อการทดสอบความสั่นสะเทือน |
นักวิจัย |
|
นายมโนรมย์ เชี่ยวพานิช และคณะ บริษัทปทุมอินสตรูเม้นท์ จำกัด |
|
|
สถานภาพสิทธิบัตร |
ความลับทางการค้า |
|
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา |
เป็นเครื่องมือกำเนิดการสั่นสะเทือนเพื่อประโยชน์ เพื่อทดสอบความคงทนของผลิตภัณฑ์เครื่องกำเนิดการสั่นสะเทือนนี้สามารถรับน้ำหนักได้ถึง 10 kg ดังนั้น จึงสามารถทดสอบผลิตภัณฑ์ได้ว่าเมื่อต้องเจอสภาวะที่มีการสั่นสะเทือน แล้วจะเกิดความเสียหายมากน้อยเพียงใด และเพื่อทดสอบและปรับแต่ง Vibration Switch ที่ทุกวันนี้ใช้ค้อนเคาะ แต่ไม่รู้ว่า อ้างอิงมาตรฐานอะไร เพื่อทดสอบปรับแต่งเซนเซอร์วัดความสั่นสะเทือนที่ทุกวันนี้ทำได้เพียง 1,2 KHz ที่พลังงานต่ำมาก ขณะที่การใช้งานจริงที่ความถี่สูงถึง 40 KHz ซึ่งเครื่อง Shaker-1 นี้สามารถรับน้ำหนักได้10kg, กำเนิดความสั่นสะเทือนได้ถึง 10 KHz, และกำเนิดความเร่งได้ถึง 14G |
|
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี |
- ตอบโจทย์ในวงการอุตสาหกรรมในการตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันความเสียหายของเครื่องจักร์ด้วยการจับความแรงของการสั่นสะเทือน ซึ่งอุปกรณ์นี้มีน้ำหนักมากเกินกว่าพลังงานจากเครื่องกำเนิดความสั่นสะเทือนจะสร้างได้ โดย Shaker-1 นี้สามารถรับน้ำหนักได้10 kg, กำเนิดความสั่นสะเทือนได้ถึง 10 KHz, และกำเนิดความเร่งได้ถึง 14G
- ใช้ในการกระตุ้นความถี่ธรรมชาติของโครงสร้างเหล็ก เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา resonance
- สามารถตรวจสอบกลับได้ |
|
ความร่วมมือที่เสาะหา |
เสาะหาผู้ร่วมวิจัยพัฒนา |
|
สถานภาพของผลงานวิจัย |
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง |
|
|
เงื่อนไข |
เทคโนโลยีราคาเดียว |
|
สนใจสอบถามข้อมูล |
นางสุคนธรส เหมือนกลัด |
โทรศัพท์มือถือ |
0943241594 |
Email |
sukhontaros@esspower.com, esscompany@esspower.com |
บริษัทปทุมอินสตรูเม้นท์ จำกัด | |
|
คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "เครื่องกำเนิดความสั่นสะเทือน เพื่อการทดสอบความสั่นสะเทือน"
|
|