กระบวนการเตรียมโปรตีนไฮโดรไลเสทที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าว
นักวิจัย  
ผศ.ดร.จิรภา พงษ์จันตา
สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
 
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12568
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
แป้งข้าวชนิดต่างๆ ทั้งแป้งข้าวเหนียวและแป้งข้าวเจ้า มีการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารหลายชนิด ซึ่งเมื่อรับประทานแล้วร่างกายเกิดการย่อยอาหารเหล่านั้น ท้ายสุดจะให้พลังงานแก่ร่างกายในรูปของน้ำตาลกลูโคสซึ่งในปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพด้านโรคเบาหวานมากสูงขึ้น จึงมีการวิจัยด้านการดัดแปรแป้งข้าวในลักษณะที่ทนต่อการย่อย ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการผลิตสตาร์ชทนย่อย หรือแป้งทนการย่อย (Resistance Starch)
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ข้าวที่ผ่านดัดแปรสมบัติทางเคมีโดยการดัดแปรโครงสร้างแป้งทางกายภาพด้วยวิธีการเร่งปฏิกิริยาการเกิดโครงสร้างผลึกใหม่ของแป้งข้าวที่อุณหภูมิต่ำ ได้แป้งข้าวที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำเส้นใยสูงสำหรับใช้เสริมหรือทดแทนในผลิตภัณฑ์อาหารชนิดต่างๆ เพื่อเพิ่มปริมาณเส้นใยโดยไม่มีผลต่อลักษณะที่เอกลักษณ์ของอาหาร
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
นางสาวมณฑิรา แก้วดี
โทรศัพท์ 0 2579 7435 ต่อ 3309
โทรศัพท์มือถือ 09 7978 6881
Email montira@arda.or.th
สำนักส่งเสริมการใช้ประโยชน์ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก.

คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "กระบวนการเตรียมโปรตีนไฮโดรไลเสทที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าว"