Collection: Paper art of Thai Tradition ลวดลายบรรจุภัณฑ์แบบที่ 4 |
นักวิจัย |
|
อาจารย์ปรารถนา ศิริสานต์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
สถานภาพสิทธิบัตร |
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1802000706 ยื่นคำขอวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 |
|
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา |
ศิลปะการตัดกระดาษเป็นลวดลาย หรือลายฉลุ เป็นศิลปะภูมิปัญญาของไทย ที่บรรพบุรุษได้ฝากไว้ เป็นสมบัติของชาติ ใช้ตกแต่งสถานที่ในการประกอบพิธีกรรมบุญหรืองานมงคลต่างๆ เช่น งานอุปสมบท งานหมั้น แต่งงาน ทำบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ซึ่งนับวันยิ่งจะเลือนหาย ปัจจุบันมักจะเห็นแต่ในงานบุญ หรืองานเทศกาลบ้าง พิษณุโลกมีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญและเป็นหนึ่งในแหล่งส่งเสริม การท่องเที่ยวของประเทศ มีศิลปะของพื้นถิ่นเป็นเอกลักษณ์แสดงถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ เพื่อเป็นการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทำการศึกษาสภาพทั่วไปของศิลปะการตัดกระดาษแบบไทยประเพณี และนำข้อมูลที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการประยุกต์ลวดลาย บนวัสดุใยกล้วย จากนั้นนำมาออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ภายในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ชุมชน และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ เผยแพร่ศิลปะการตัดกระดาษแบบไทยประเพณี ให้เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของภูมิปัญญา และเพื่อให้คนรุ่นหลังเรียนรู้ เห็นคุณค่าได้รู้จักและรักษารูปแบบการตัดกระดาษนี้และอนุรักษ์ไว้สืบต่อไป |
|
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี |
ศิลปะการตัดกระดาษเป็นลวดลาย หรือลายฉลุ เป็นศิลปะภูมิปัญญาของไทย ที่บรรพบุรุษได้ฝากไว้ เป็นสมบัติของชาติ ใช้ตกแต่งสถานที่ในการประกอบพิธีกรรมบุญหรืองานมงคลต่างๆ เช่น งานอุปสมบท งานหมั้น แต่งงาน ทำบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ซึ่งนับวันยิ่งจะเลือนหาย ปัจจุบันมักจะเห็นแต่ในงานบุญ หรืองานเทศกาลบ้าง พิษณุโลกมีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญและเป็นหนึ่งในแหล่งส่งเสริม การท่องเที่ยวของประเทศ มีศิลปะของพื้นถิ่นเป็นเอกลักษณ์แสดงถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ เพื่อเป็นการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทำการศึกษาสภาพทั่วไปของศิลปะการตัดกระดาษแบบไทยประเพณี และนำข้อมูลที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการประยุกต์ลวดลาย บนวัสดุใยกล้วย จากนั้นนำมาออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ภายในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ชุมชน และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ เผยแพร่ศิลปะการตัดกระดาษแบบไทยประเพณี ให้เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของภูมิปัญญา และเพื่อให้คนรุ่นหลังเรียนรู้ เห็นคุณค่าได้รู้จักและรักษารูปแบบการตัดกระดาษนี้และอนุรักษ์ไว้สืบต่อไป |
|
ความร่วมมือที่เสาะหา |
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ |
|
สถานภาพของผลงานวิจัย |
ผลการทดลองระดับห้องปฏิบัติการได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นไปได้ |
|
เงื่อนไข |
เทคโนโลยีต่อรองราคา |
|
สนใจสอบถามข้อมูล |
นายเจตน์นที ราชเมืองมูล |
โทรศัพท์ |
+66 55 267 038 ต่อ 7230 |
โทรศัพท์มือถือ |
0897061644 |
Email |
jadenatheeyoke@gmail.com |
ฝ่ายวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | |
|
คุณต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี "Collection: Paper art of Thai Tradition ลวดลายบรรจุภัณฑ์แบบที่ 4"
|
|